วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
       พระไตรปิฏกและพุทธศาสนสุภาษิต

พระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า พระสุตตันปิฎก เป็น 1 ใน 3 ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและ
พระอภิธรรมปิฎก คือ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาที่มี บุคคล เหตุการณ์และสถานที่เข้ามาประกอบที่เรียกว่า บุคลาธิษฐาน อ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
             หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

1.ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนาม

      รูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย ประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก่
    - ธาตุดิน(ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็ง เช่น เนื้อ กระดูก ผม)
    - ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) อ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
   วันสำคํญทางพระพุทธศาสนาและศาสนาพิธี

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
   1.1 หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
               1) วันมาฆบูชา
               วันมาฆบูชา คือ การบูชาในเดือนมาฆะ คือ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นคือการประชุมสงฆ์โดยมิได้นัดหมายกันที่เรียกว่า จาตุรงคสันนิบาต ประกอบด้วยองค์ คือ 1. เป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ อ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรูที่ 2
                    พุทธประวัติและชาดก

1 พุทธประวัติ
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4นักเรียนได้ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับพุทธประวัติในด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาแล้ว ส่วนในระดับชั้นนี้นักเรียนจะได้ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการสอนของพระพุทธเจ้าและการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยาเพื่อที่จะได้น้อมนำมาเป็นแนวทางในการศึกษาและปฎิบัติต่อไป อ่านเพิ่มเติม
หน่วยการเรียนรู้ที่1
         ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา
          คำ ว่า การศึกษา ตรงกับกับคำว่า สิกขา หมายถึงการศึกษาทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจงแต่การศึกษาเล่าเรียนในสถานศึกษาเท่านั้น แต่หมายถึงการใช้ปัญญาพิจารณาชีวิตและสรรพสิ่งทั้งหลายให้เข้าใจตามความเป็น จริง การศึกษาตามหลักพระพุทธศาสนา มีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม